จำหน่ายอุปกรณ์ในการปลูกพืชไฮโดรโพนิกส์ (พืชไร้ดิน), เมล็ดพันธุ์พืช, ปุ๋ย A,B,C,K และให้คำแนะนำเกี่ยวกับการปลูก
วันอาทิตย์ที่ 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2561
วันอาทิตย์ที่ 10 มิถุนายน พ.ศ. 2561
วันอังคารที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2561
วันเสาร์ที่ 14 เมษายน พ.ศ. 2561
สลัดแก้วญี่ปุ่น ซาลีนาส (Salinas Lettuce)
สลัดแก้วญี่ปุ่น "ซาลีนาส" จากบริษัท Sakata Seed co.jp. โดยสลัด "ซาลีนาส" เป็นผักสลัดในกลุ่ม "Crisphead Lettuce" หรือสลัดแบบห่อหัว ซึ่งโดยปกติแล้วเป็นที่ทราบกันดีว่าสลัดประเภทนี้จะปลูกให้ห่อหัวได้ต้องอาศัยอุณหภูมิในการปลูกที่ค่อนข้างต่ำ คือเฉลี่ยประมาณ 10-25 องศา C ซึ่งข้อจำกัดนี้ทำให้มีปัญหามากสำหรับผู้ที่ปลูกในพื้นที่ๆ มีอากาศร้อนแบบประเทศไทย
จากที่ทางเซนฯ ได้ทำการทดลอง ปลูกสลัด "ซาลีนาส" เมื่อช่วงฤดูร้อน ปี พ.ศ. 2561 ในแปลงปลูก DRFT รุ่น 45 ช่องปลูก (อุณหภูมิของอากาศเฉลี่ยอยู่ที่ 35 - 40 องศา C.) ใช้ EC อยู่ที่ 1.1 - 1.4 ms/cm. ผลปรากฎว่าสลัดแก้ว ซาลีนาส ยังคงสามารถเจริญเติบโตได้เป็นปกติ และใบเริ่มห่อหัวเมื่ออายุได้ประมาณ 35 วัน ในภาพด้านล่างสลัดมีอายุได้ประมาณ 45 วันนับจากวันเพาะเมล็ด ซึ่งโดยปกติเป็นที่ทราบกันดีว่าอุณภูมิสูงขนาดนี้สลัดแก้วไม่สามารถห่อหัวได้ และมักจะพบอาการทิปเบรินส์ให้เห็นที่ยอดอ่อน แต่สลัดแก้วซาลีนาส ที่ทางเซนฯ ทดลองนี้ไม่ประสบปัญหาดังกล่าวเลย ถึงแม้การห่อหัวอาจจะไม่แน่นหรือเทียบเท่ากับการปลูกในพื้นที่มีอุณหภูมิต่ำ แต่โดยรวมแล้วสลัดสายพันธุ์นี้เหมาะเป็นอย่างมากสำหรับการปลูกในพื้นที่ๆมีข้อจำกัดในเรื่องของอุณหภูมิของอากาศที่สูงอย่างประเทศไทย
ตัวอย่างการกำหนดค่า EC สำหรับผักสลัดแก้วญี่ปุ่น ซาลีนาส (ในพื้นที่อากาศร้อน)
1. หลังเพาะเมล็ดได้ประมาณ 7-10 วัน เริ่มให้ปุ๋ยอ่อนๆ โดยให้ค่า EC ประมาณ 1.0 - 1.1 ms/cm
2. เมื่อครบกำหนด 10 - 14 วัน หรือต้นเกล้าเริ่มมีใบจริงประมาณ 2 - 3 ใบ ก็สามารถย้ายลงแปลงปลูกได้เลย โดยกำหนดค่า EC สำหรับผักสลัดในช่วงนี้ อยู่ที่ประมาณ 1.1 - 1.3 ms/cm
3. ช่วงผักมีอายุได้ประมาณ 15 - 25 วัน ให้กำหนดค่า EC สำหรับผักสลัดในช่วงนี้ อยู่ที่ประมาณ 1.3 - 1.4 ms/cm
และควรฉีดพ่น แคลเซียม และโบรอน สัปดาห์ละ 1 - 2 ครั้ง เพื่อป้องกันอาการปลายใบไหม้ (Tip burn)
4. ช่วงผักมีอายุได้ประมาณ 26 - 30 วัน ให้กำหนดค่า EC สำหรับผักสลัดในช่วงนี้ อยู่ที่ประมาณ 1.2 - 1.3 ms/cm
และควรฉีดพ่น แคลเซียม และโบรอน สัปดาห์ละ 1 - 2 ครั้ง เพื่อป้องกันอาการปลายใบไหม้ (Tip burn)
6. เมื่อผักมีอายุได้ประมาณ 31 - 35 วัน ให้กำหนดค่า EC สำหรับผักสลัดในช่วงนี้ อยู่ที่ประมาณ 1.1 - 1.2 ms/cm
และควรฉีดพ่น แคลเซียม และโบรอน สัปดาห์ละ 1 - 2 ครั้ง
7.เมื่อผักมีอายุได้ประมาณ 36 - 45 วัน ให้กำหนดค่า EC สำหรับผักสลัดในช่วงนี้ อยู่ที่ประมาณ 1.0 - 1.1 ms/cm
และควรฉีดพ่น แคลเซียม และโบรอน สัปดาห์ละ 1 - 2 ครั้ง
8.เมื่อผักมีอายุได้ประมาณ 45 - 55 วัน ให้กำหนดค่า EC สำหรับผักสลัดในช่วงนี้ อยู่ต่ำกว่า 0.5 ms/cm
หรือจะใช้น้ำเปล่าเลี้ยงประมาณ 3 วัน ก่อนเก็บเกี่ยวก็ได้ครับ
ข้อแนะนำในการปลูก
1. หลังเพาะเมล็ดได้ประมาณ 2 - 3 วัน แนะนำให้นำต้นเกล้าได้รับแสงแดดตอนเช้าหรือเย็นประมาณ 3 - 4 ชั่วโมง/วัน เพื่อให้ต้นเกล้าไม่ยืดและแข็งแรงมากขึ้น
8.เมื่อผักมีอายุได้ประมาณ 45 - 55 วัน ให้กำหนดค่า EC สำหรับผักสลัดในช่วงนี้ อยู่ต่ำกว่า 0.5 ms/cm
หรือจะใช้น้ำเปล่าเลี้ยงประมาณ 3 วัน ก่อนเก็บเกี่ยวก็ได้ครับ
ข้อแนะนำในการปลูก
1. หลังเพาะเมล็ดได้ประมาณ 2 - 3 วัน แนะนำให้นำต้นเกล้าได้รับแสงแดดตอนเช้าหรือเย็นประมาณ 3 - 4 ชั่วโมง/วัน เพื่อให้ต้นเกล้าไม่ยืดและแข็งแรงมากขึ้น
1. หลังเพาะเมล็ดได้ประมาณ 2 - 3 วัน แนะนำให้นำต้นเกล้าได้รับแสงแดดตอนเช้าหรือเย็นประมาณ 3 - 4 ชั่วโมง/วัน เพื่อให้ต้นเกล้าไม่ยืดและแข็งแรงมากขึ้น
2. ในพื้นที่อากาศร้อนเมื่อผักสลัดมีอายุปลูกได้ประมาณ 20 วัน มักมีอาการขอบใบไหม้ แนะนำให้ปรับค่า EC ให้ต่ำและให้ลดการคายน้ำทางใบของพืชลง ด้วยการพลางแสง หรือเสปรย์น้ำเพื่อลดอุณหภูมิและเพิ่มความชื้นในอากาศ และควรมีการฉีดพ่น ธาตุแคลเซียม-โบรอน เสริมทางใบเพื่อป้องกันอาการขอบใบไหม้
3. ศัตรูพืชที่สำคัญของ ผักสลัด คือ เพลี้ยไฟ และหนอนใยผัก แนะนำให้ฉีดพ่นสารสกัดจากธรรมชาติเพื่อป้องกัน และกำจัด ควรหลีกเลี่ยงสารเคมีจำกัดศัตรูพืช เนื่องจากสลัดเป็นพืชอายุสั้นและต้องบริโภคส่วนที่เป็นใบจึงอาจเป็นอัตรายต่อผู้บริโภคได้
4. การปลูกสลัดแนะนำให้เปลี่ยนน้ำผสมธาตุอาหารใหม่ในช่วงที่ผัก อายุได้ 28 วัน (หรืออายุผัก 4 สัปดาห์) โดยลดปริมาณการใช้ปุ๋ย A,B ลงทุกๆ ช่วงอายุปลูก ข้อดีของการลดการปลูกสลัดโดยใช้ EC สูง ไปหาต่ำมีข้อดีคือ
4.1 ประหยัดค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการใช้ธาตุอาหาร
4.2 เพื่อป้องกันการเกิด Tip burn โดยเฉพาะผักที่เกิดอาการดังกล่าวได้ง่ายเช่น ผักในกลุ่มคอส, บัตเตอร์เฮด และผักกาดแก้ว
4.3 ช่วยให้ผักเจริญเติบโตได้อย่างต่อเนื่อง
4.4 ทำให้ผักสลัดที่ปลูกไม่มีรสขม หรือมีความขมลดลงในช่วงฤดูร้อน
5.แนะนำให้เปลี่ยนน้ำผสมปุ๋ยใหม่เมื่อผักมีอายุได้ประมาณ 25 วัน
หมายเหตุ ผักสลัดเป็นพืชทานใบที่มีอายุปลูกสั้น การใช้ปุ๋ยในระดับสูงเกิน 1.5 ms/cm หลังจากผักอายุได้ 30 วันไม่ได้เกิดประโยชน์ใดกับผักสลัดเลย กลับทำให้ผักมีอาการขาดธาตุแคลเซียม (Tipburn) มากขึ้นเพราะเพื่อความเข้มข้นของธาตุอาหารในระบบมีสูงเกินไป ช่วงเวลาที่ผักสลัดสะสมอาหารมากที่สุดคือช่วงที่ผักมีอายุได้ประมาณ 10 - 30 วันแรก ซึ่งหลังอายุ 30 วันไปแล้วผักสลัดจะใช้ปุ๋ยน้อยลง ส่วนที่ผักสลัดต้องการมากที่สุดคือ น้ำ
2. ในพื้นที่อากาศร้อนเมื่อผักสลัดมีอายุปลูกได้ประมาณ 20 วัน มักมีอาการขอบใบไหม้ แนะนำให้ปรับค่า EC ให้ต่ำและให้ลดการคายน้ำทางใบของพืชลง ด้วยการพลางแสง หรือเสปรย์น้ำเพื่อลดอุณหภูมิและเพิ่มความชื้นในอากาศ และควรมีการฉีดพ่น ธาตุแคลเซียม-โบรอน เสริมทางใบเพื่อป้องกันอาการขอบใบไหม้
3. ศัตรูพืชที่สำคัญของ ผักสลัด คือ เพลี้ยไฟ และหนอนใยผัก แนะนำให้ฉีดพ่นสารสกัดจากธรรมชาติเพื่อป้องกัน และกำจัด ควรหลีกเลี่ยงสารเคมีจำกัดศัตรูพืช เนื่องจากสลัดเป็นพืชอายุสั้นและต้องบริโภคส่วนที่เป็นใบจึงอาจเป็นอัตรายต่อผู้บริโภคได้
4. การปลูกสลัดแนะนำให้เปลี่ยนน้ำผสมธาตุอาหารใหม่ในช่วงที่ผัก อายุได้ 28 วัน (หรืออายุผัก 4 สัปดาห์) โดยลดปริมาณการใช้ปุ๋ย A,B ลงทุกๆ ช่วงอายุปลูก ข้อดีของการลดการปลูกสลัดโดยใช้ EC สูง ไปหาต่ำมีข้อดีคือ
4.1 ประหยัดค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการใช้ธาตุอาหาร
4.2 เพื่อป้องกันการเกิด Tip burn โดยเฉพาะผักที่เกิดอาการดังกล่าวได้ง่ายเช่น ผักในกลุ่มคอส, บัตเตอร์เฮด และผักกาดแก้ว
4.3 ช่วยให้ผักเจริญเติบโตได้อย่างต่อเนื่อง
4.4 ทำให้ผักสลัดที่ปลูกไม่มีรสขม หรือมีความขมลดลงในช่วงฤดูร้อน
5.แนะนำให้เปลี่ยนน้ำผสมปุ๋ยใหม่เมื่อผักมีอายุได้ประมาณ 25 วัน
หมายเหตุ ผักสลัดเป็นพืชทานใบที่มีอายุปลูกสั้น การใช้ปุ๋ยในระดับสูงเกิน 1.5 ms/cm หลังจากผักอายุได้ 30 วันไม่ได้เกิดประโยชน์ใดกับผักสลัดเลย กลับทำให้ผักมีอาการขาดธาตุแคลเซียม (Tipburn) มากขึ้นเพราะเพื่อความเข้มข้นของธาตุอาหารในระบบมีสูงเกินไป ช่วงเวลาที่ผักสลัดสะสมอาหารมากที่สุดคือช่วงที่ผักมีอายุได้ประมาณ 10 - 30 วันแรก ซึ่งหลังอายุ 30 วันไปแล้วผักสลัดจะใช้ปุ๋ยน้อยลง ส่วนที่ผักสลัดต้องการมากที่สุดคือ น้ำ
4. การปลูกสลัดแนะนำให้เปลี่ยนน้ำผสมธาตุอาหารใหม่ในช่วงที่ผัก อายุได้ 28 วัน (หรืออายุผัก 4 สัปดาห์) โดยลดปริมาณการใช้ปุ๋ย A,B ลงทุกๆ ช่วงอายุปลูก ข้อดีของการลดการปลูกสลัดโดยใช้ EC สูง ไปหาต่ำมีข้อดีคือ
4.1 ประหยัดค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการใช้ธาตุอาหาร
4.2 เพื่อป้องกันการเกิด Tip burn โดยเฉพาะผักที่เกิดอาการดังกล่าวได้ง่ายเช่น ผักในกลุ่มคอส, บัตเตอร์เฮด และผักกาดแก้ว
4.3 ช่วยให้ผักเจริญเติบโตได้อย่างต่อเนื่อง
4.4 ทำให้ผักสลัดที่ปลูกไม่มีรสขม หรือมีความขมลดลงในช่วงฤดูร้อน
5.แนะนำให้เปลี่ยนน้ำผสมปุ๋ยใหม่เมื่อผักมีอายุได้ประมาณ 25 วัน
หมายเหตุ ผักสลัดเป็นพืชทานใบที่มีอายุปลูกสั้น การใช้ปุ๋ยในระดับสูงเกิน 1.5 ms/cm หลังจากผักอายุได้ 30 วันไม่ได้เกิดประโยชน์ใดกับผักสลัดเลย กลับทำให้ผักมีอาการขาดธาตุแคลเซียม (Tipburn) มากขึ้นเพราะเพื่อความเข้มข้นของธาตุอาหารในระบบมีสูงเกินไป ช่วงเวลาที่ผักสลัดสะสมอาหารมากที่สุดคือช่วงที่ผักมีอายุได้ประมาณ 10 - 30 วันแรก ซึ่งหลังอายุ 30 วันไปแล้วผักสลัดจะใช้ปุ๋ยน้อยลง ส่วนที่ผักสลัดต้องการมากที่สุดคือ น้ำ
สลัดญี่ปุ่น โอะกินะวะ (Okinawa Lettuce)
ภาพด้านล่าง เป็นภาพสลัดญี่ปุ่น โอะกินาวะ ที่ทางเซนฯ ทดลองปลูกในแปลง DRFT รุ่น 45 ช่องปลูก
ตัวอย่างการกำหนดค่า EC สำหรับผักสลัด โอะกินะวะ (ในพื้นที่อากาศร้อน)
1. หลังเพาะเมล็ดได้ประมาณ 7-10 วัน เริ่มให้ปุ๋ยอ่อนๆ โดยให้ค่า EC ประมาณ 1.0 - 1.1 ms/cm
2. เมื่อครบกำหนด 10 - 14 วัน หรือต้นเกล้าเริ่มมีใบจริงประมาณ 2 - 3 ใบ ก็สามารถย้ายลงแปลงปลูกได้เลย โดยกำหนดค่า EC สำหรับผักสลัดในช่วงนี้ อยู่ที่ประมาณ 1.1 - 1.3 ms/cm
3. ช่วงผักมีอายุได้ประมาณ 15 - 25 วัน ให้กำหนดค่า EC สำหรับผักสลัดในช่วงนี้ อยู่ที่ประมาณ 1.3 - 1.4 ms/cm
และควรฉีดพ่น แคลเซียม และโบรอน สัปดาห์ละ 1 - 2 ครั้ง เพื่อป้องกันอาการปลายใบไหม้ (Tip burn)
4. ช่วงผักมีอายุได้ประมาณ 26 - 30 วัน ให้กำหนดค่า EC สำหรับผักสลัดในช่วงนี้ อยู่ที่ประมาณ 1.2 - 1.3 ms/cm
และควรฉีดพ่น แคลเซียม และโบรอน สัปดาห์ละ 1 - 2 ครั้ง เพื่อป้องกันอาการปลายใบไหม้ (Tip burn)
6. เมื่อผักมีอายุได้ประมาณ 31 - 35 วัน ให้กำหนดค่า EC สำหรับผักสลัดในช่วงนี้ อยู่ที่ประมาณ 1.1 - 1.2 ms/cm
และควรฉีดพ่น แคลเซียม และโบรอน สัปดาห์ละ 1 - 2 ครั้ง
7.เมื่อผักมีอายุได้ประมาณ 36 - 40 วัน ให้กำหนดค่า EC สำหรับผักสลัดในช่วงนี้ อยู่ที่ประมาณ 1.0 - 1.1 ms/cm
และควรฉีดพ่น แคลเซียม และโบรอน สัปดาห์ละ 1 - 2 ครั้ง
8.เมื่อผักมีอายุได้ประมาณ 41 - 50 วัน ให้กำหนดค่า EC สำหรับผักสลัดในช่วงนี้ อยู่ต่ำกว่า 0.5 ms/cm
หรือจะใช้น้ำเปล่าเลี้ยงประมาณ 3 วัน ก่อนเก็บเกี่ยวก็ได้ครับ
ข้อแนะนำในการปลูก
1. หลังเพาะเมล็ดได้ประมาณ 2 - 3 วัน แนะนำให้นำต้นเกล้าได้รับแสงแดดตอนเช้าหรือเย็นประมาณ 3 - 4 ชั่วโมง/วัน เพื่อให้ต้นเกล้าไม่ยืดและแข็งแรงมากขึ้น
8.เมื่อผักมีอายุได้ประมาณ 41 - 50 วัน ให้กำหนดค่า EC สำหรับผักสลัดในช่วงนี้ อยู่ต่ำกว่า 0.5 ms/cm
หรือจะใช้น้ำเปล่าเลี้ยงประมาณ 3 วัน ก่อนเก็บเกี่ยวก็ได้ครับ
ข้อแนะนำในการปลูก
1. หลังเพาะเมล็ดได้ประมาณ 2 - 3 วัน แนะนำให้นำต้นเกล้าได้รับแสงแดดตอนเช้าหรือเย็นประมาณ 3 - 4 ชั่วโมง/วัน เพื่อให้ต้นเกล้าไม่ยืดและแข็งแรงมากขึ้น
1. หลังเพาะเมล็ดได้ประมาณ 2 - 3 วัน แนะนำให้นำต้นเกล้าได้รับแสงแดดตอนเช้าหรือเย็นประมาณ 3 - 4 ชั่วโมง/วัน เพื่อให้ต้นเกล้าไม่ยืดและแข็งแรงมากขึ้น
2. ในพื้นที่อากาศร้อนเมื่อผักสลัดมีอายุปลูกได้ประมาณ 20 วัน มักมีอาการขอบใบไหม้ แนะนำให้ปรับค่า EC ให้ต่ำและให้ลดการคายน้ำทางใบของพืชลง ด้วยการพลางแสง หรือเสปรย์น้ำเพื่อลดอุณหภูมิและเพิ่มความชื้นในอากาศ และควรมีการฉีดพ่น ธาตุแคลเซียม-โบรอน เสริมทางใบเพื่อป้องกันอาการขอบใบไหม้
3. ศัตรูพืชที่สำคัญของ ผักสลัด คือ เพลี้ยไฟ และหนอนใยผัก แนะนำให้ฉีดพ่นสารสกัดจากธรรมชาติเพื่อป้องกัน และกำจัด ควรหลีกเลี่ยงสารเคมีจำกัดศัตรูพืช เนื่องจากสลัดเป็นพืชอายุสั้นและต้องบริโภคส่วนที่เป็นใบจึงอาจเป็นอัตรายต่อผู้บริโภคได้
4. การปลูกสลัดแนะนำให้เปลี่ยนน้ำผสมธาตุอาหารใหม่ในช่วงที่ผัก อายุได้ 28 วัน (หรืออายุผัก 4 สัปดาห์) โดยลดปริมาณการใช้ปุ๋ย A,B ลงทุกๆ ช่วงอายุปลูก ข้อดีของการลดการปลูกสลัดโดยใช้ EC สูง ไปหาต่ำมีข้อดีคือ
4.1 ประหยัดค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการใช้ธาตุอาหาร
4.2 เพื่อป้องกันการเกิด Tip burn โดยเฉพาะผักที่เกิดอาการดังกล่าวได้ง่ายเช่น ผักในกลุ่มคอส, บัตเตอร์เฮด และผักกาดแก้ว
4.3 ช่วยให้ผักเจริญเติบโตได้อย่างต่อเนื่อง
4.4 ทำให้ผักสลัดที่ปลูกไม่มีรสขม หรือมีความขมลดลงในช่วงฤดูร้อน
5.แนะนำให้เปลี่ยนน้ำผสมปุ๋ยใหม่เมื่อผักมีอายุได้ประมาณ 25 วัน
หมายเหตุ ผักสลัดเป็นพืชทานใบที่มีอายุปลูกสั้น การใช้ปุ๋ยในระดับสูงเกิน 1.5 ms/cm หลังจากผักอายุได้ 30 วันไม่ได้เกิดประโยชน์ใดกับผักสลัดเลย กลับทำให้ผักมีอาการขาดธาตุแคลเซียม (Tipburn) มากขึ้นเพราะเพื่อความเข้มข้นของธาตุอาหารในระบบมีสูงเกินไป ช่วงเวลาที่ผักสลัดสะสมอาหารมากที่สุดคือช่วงที่ผักมีอายุได้ประมาณ 10 - 30 วันแรก ซึ่งหลังอายุ 30 วันไปแล้วผักสลัดจะใช้ปุ๋ยน้อยลง ส่วนที่ผักสลัดต้องการมากที่สุดคือ น้ำ
2. ในพื้นที่อากาศร้อนเมื่อผักสลัดมีอายุปลูกได้ประมาณ 20 วัน มักมีอาการขอบใบไหม้ แนะนำให้ปรับค่า EC ให้ต่ำและให้ลดการคายน้ำทางใบของพืชลง ด้วยการพลางแสง หรือเสปรย์น้ำเพื่อลดอุณหภูมิและเพิ่มความชื้นในอากาศ และควรมีการฉีดพ่น ธาตุแคลเซียม-โบรอน เสริมทางใบเพื่อป้องกันอาการขอบใบไหม้
3. ศัตรูพืชที่สำคัญของ ผักสลัด คือ เพลี้ยไฟ และหนอนใยผัก แนะนำให้ฉีดพ่นสารสกัดจากธรรมชาติเพื่อป้องกัน และกำจัด ควรหลีกเลี่ยงสารเคมีจำกัดศัตรูพืช เนื่องจากสลัดเป็นพืชอายุสั้นและต้องบริโภคส่วนที่เป็นใบจึงอาจเป็นอัตรายต่อผู้บริโภคได้
4. การปลูกสลัดแนะนำให้เปลี่ยนน้ำผสมธาตุอาหารใหม่ในช่วงที่ผัก อายุได้ 28 วัน (หรืออายุผัก 4 สัปดาห์) โดยลดปริมาณการใช้ปุ๋ย A,B ลงทุกๆ ช่วงอายุปลูก ข้อดีของการลดการปลูกสลัดโดยใช้ EC สูง ไปหาต่ำมีข้อดีคือ
4.1 ประหยัดค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการใช้ธาตุอาหาร
4.2 เพื่อป้องกันการเกิด Tip burn โดยเฉพาะผักที่เกิดอาการดังกล่าวได้ง่ายเช่น ผักในกลุ่มคอส, บัตเตอร์เฮด และผักกาดแก้ว
4.3 ช่วยให้ผักเจริญเติบโตได้อย่างต่อเนื่อง
4.4 ทำให้ผักสลัดที่ปลูกไม่มีรสขม หรือมีความขมลดลงในช่วงฤดูร้อน
5.แนะนำให้เปลี่ยนน้ำผสมปุ๋ยใหม่เมื่อผักมีอายุได้ประมาณ 25 วัน
หมายเหตุ ผักสลัดเป็นพืชทานใบที่มีอายุปลูกสั้น การใช้ปุ๋ยในระดับสูงเกิน 1.5 ms/cm หลังจากผักอายุได้ 30 วันไม่ได้เกิดประโยชน์ใดกับผักสลัดเลย กลับทำให้ผักมีอาการขาดธาตุแคลเซียม (Tipburn) มากขึ้นเพราะเพื่อความเข้มข้นของธาตุอาหารในระบบมีสูงเกินไป ช่วงเวลาที่ผักสลัดสะสมอาหารมากที่สุดคือช่วงที่ผักมีอายุได้ประมาณ 10 - 30 วันแรก ซึ่งหลังอายุ 30 วันไปแล้วผักสลัดจะใช้ปุ๋ยน้อยลง ส่วนที่ผักสลัดต้องการมากที่สุดคือ น้ำ
4. การปลูกสลัดแนะนำให้เปลี่ยนน้ำผสมธาตุอาหารใหม่ในช่วงที่ผัก อายุได้ 28 วัน (หรืออายุผัก 4 สัปดาห์) โดยลดปริมาณการใช้ปุ๋ย A,B ลงทุกๆ ช่วงอายุปลูก ข้อดีของการลดการปลูกสลัดโดยใช้ EC สูง ไปหาต่ำมีข้อดีคือ
4.1 ประหยัดค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการใช้ธาตุอาหาร
4.2 เพื่อป้องกันการเกิด Tip burn โดยเฉพาะผักที่เกิดอาการดังกล่าวได้ง่ายเช่น ผักในกลุ่มคอส, บัตเตอร์เฮด และผักกาดแก้ว
4.3 ช่วยให้ผักเจริญเติบโตได้อย่างต่อเนื่อง
4.4 ทำให้ผักสลัดที่ปลูกไม่มีรสขม หรือมีความขมลดลงในช่วงฤดูร้อน
5.แนะนำให้เปลี่ยนน้ำผสมปุ๋ยใหม่เมื่อผักมีอายุได้ประมาณ 25 วัน
หมายเหตุ ผักสลัดเป็นพืชทานใบที่มีอายุปลูกสั้น การใช้ปุ๋ยในระดับสูงเกิน 1.5 ms/cm หลังจากผักอายุได้ 30 วันไม่ได้เกิดประโยชน์ใดกับผักสลัดเลย กลับทำให้ผักมีอาการขาดธาตุแคลเซียม (Tipburn) มากขึ้นเพราะเพื่อความเข้มข้นของธาตุอาหารในระบบมีสูงเกินไป ช่วงเวลาที่ผักสลัดสะสมอาหารมากที่สุดคือช่วงที่ผักมีอายุได้ประมาณ 10 - 30 วันแรก ซึ่งหลังอายุ 30 วันไปแล้วผักสลัดจะใช้ปุ๋ยน้อยลง ส่วนที่ผักสลัดต้องการมากที่สุดคือ น้ำ
วันอาทิตย์ที่ 18 มีนาคม พ.ศ. 2561
ออริกาโน่ (Oregano)
ออริกาโน่ : Oregano
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Origanum vulgare
อยู่ในวงค์ : Lamiaceae
อยู่ในวงค์ : Lamiaceae
ออริกาโน่ (Oregano) เป็นเครื่องเทศสมุนไพร เป็นพืชล้มลุกกึ่งเลื้อย มีทรงพุ่มขนาดเล็ก มีอายุประมาณ 2-3 ปี ลำต้นเดี่ยว มีลักษณะกลมๆ แตกกิ่งก้านสาขา มีสีเขียว เป็นใบเดี่ยว ออกตรงข้ามกัน ใบมีลักษณะคล้ายรูปหัวใจ มีขนาดเล็ก ขอบใบหยัก ใบมีสีเขียว มีขนอ่อนๆ มีก้านใบยาว มีกลิ่นหอมเฉพาะตัว ดอกออกเป็นช่อ ก้านช่อดอกยาว ออกบริเวณปลายกิ่ง ดอกย่อยอยู่เป็นกระจุก มีลักษณะเล็กๆ กลีบดอกมีสีชมพู ก้านดอกย่อยสั้น ผลมีลักษณะทรงกลมเล็กๆ ผลจะมีเมล็ดเล็กๆ สีดำอยู่ อยู่ภายในผล ใช้ใบนำมาประกอบอาหารเมนูต่างๆ ได้หลายเมนู
ลำต้น เป็นเครื่องเทศสมุนไพร มีอายุประมาณ 2-3 ปี เป็นพืชล้มลุกกึ่งเลื้อย มีทรงพุ่มขนาดเล็ก ลำต้นเดี่ยว มีลักษณะกลมๆ แตกกิ่งก้านสาขา มีสีเขียว
ใบ เป็นใบเดี่ยว ออกตรงข้ามกัน ใบมีลักษณะคล้ายรูปหัวใจ มีขนาดเล็ก ขอบใบหยัก ใบมีสีเขียว มีขนอ่อนๆ มีก้านใบยาว มีกลิ่นหอมเฉพาะตัว ใช้ใบนำมาประกอบอาหารเมนูต่างๆ
ราก มีระบบรากแก้ว แทงลึกลงในดิน มีลักษณะกลมเล็กๆ มีรากแขนงรากฝอยเล็กๆ มีสีน้ำตาล มีกลิ่นเฉพาะตัว
ดอก ออกเป็นช่อ ก้านช่อดอกยาว ออกปลายกิ่ง ดอกย่อยอยู่เป็นกระจุก มีลักษณะเล็กๆ กลีบดอกมีสีชมพู ก้านดอกย่อยสั้น
ผล มีลักษณะทรงกลมเล็กๆ ผลจะมีเมล็ดเล็กๆ สีดำอยู่
เมล็ด อยู่ภายในผลจะมีเมล็ดอยู่ มีลักษณะทรงกลมเล็กๆ มีสีดำ
ประโยชน์สรรพคุณของออริกาโน่
มีวิตามินเอ มีโพแทสเซียม มีฟอสฟอรัส มีเบตาแคโรทีน มีวิตามินซี มีวิตามินบี1 มีวิตามินบี2 มีวิตามินบี3 มีวิตามินบี5 มีวิตามินบี6 มีวิตามินบี9 มีแคลเซียม มีเส้นใย มีโปรตีน มีคาร์โบไฮเดรต มีวิตามินเอ มีโซเดียม มีสังกะสี มีน้ำตาล มีไขมัน มีพลังงาน
ช่วยป้องกันโรคหัวใจขาดเลือด มีอนุมูลอิสระ ช่วยป้องกันโรคมะเร็ง ช่วยป้องกันมะเร็งต่อมลูกหมาก แก้จุกเสียดแน่นท้อง แก้ท้องอืด แก้ท้องเฟ้อ ช่วยขับลมจากลำไส้ ช่วยย่อยอาหาร ช่วยทำให้สบายท้อง ช่วยคลายการเกร็งของกล้ามเนื้อ ช่วยฆ่าเชื้อแบคทีเรีย ช่วยให้สงบ ช่วยให้มีสมาธิ ช่วยลดอาการซึมเศร้าได้ แก้ไขข้ออักเสบ แก้แผลอักเสบ แก้ลมวิงเวียน แก้ไข้ ช่วยแก้หวัด ช่วยขับเหงื่อ ช่วยขับลมได้ แก้ปวดท้อง เป็นยาระบาย แก้ทางเดินปัสสาวะอักเสบ
การปลูกและขยายพันธุ์ออริกาโน่
ออริกาโน่เป็นพืชที่ เจริญได้ในดินแทบทุกชนิด ชอบดินร่วนซุยจะเจริญได้ดี การปลูกที่นิยมมี 2 วิธี การปลูกโดยใช้เมล็ดพันธุ์ และการปลูกโดยใช้กิ่งชำปลูก แล้วจึงทำการย้ายปลูก ลงในแปลงดินที่เตรียมไว้ ให้มีระยะห่างกันประมาณ 20×20 ซม.
วิธีดูแลรักษาออริกาโน่
ออริกาโน่เป็นพืชที่ชอบ ระบายน้ำดีน้ำไม่ขัง ชอบแสงแดด ต้องดูแลรดน้ำเสมอ และโดนแดดได้ตลอดวัน ต้องหมั่นรดน้ำให้ชุ่ม โดยรดน้ำเช้าเย็น จะทำให้เจริญเติบโตได้เร็ว ออริกาโน่เป็นพืชที่
มีอายุประมาณ 2-3 ปี
มีอายุประมาณ 2-3 ปี
การเก็บเกี่ยวผลผลิตออริกาโน่
ออริกาโน่จะเก็บเกี่ยว ผลผลิตได้ มีอายุประมาณ 3-4 เดือน หลังจากการปลูก จะเก็บเกี่ยวผลผลิตใบได้ ใช้กรรไกรตัดกิ่ง ควรเก็บเบามือ แล้วนำใส่ในภาชนะที่เตรียมไว้ สามารถตัดเก็บเกี่ยวไปได้เรื่อยๆ จะทำให้ต้นเจริญเติบโตได้เรื่อยๆ
วิธีเก็บรักษาออริกาโน่
จะนำใบออริกาโน่ มาล้างน้ำให้สะอาด เราจะมีวิธีเก็บรักษาให้นานๆ คือให้ล้างน้ำให้สะอาดดี แล้วให้สะเด็ดน้ำออกให้หมด แล้วนำใบมาหั่นเป็นฝอยๆ แล้วนำมาตากแดดให้แห้งสนิท แล้วใส่ถุงหรือกล่องพลาสติก แล้วจะเก็บไว้ใช้ได้นาน
►ออริกาโน่ (Oregano) เป็นเครื่องเทศสมุนไพร เป็นพืชล้มลุกกึ่งเลื้อย มีทรงพุ่มขนาดเล็ก มีอายุประมาณ 2-3 ปี ใบเป็นใบเดี่ยว ออกตรงข้ามกัน ใบมีลักษณะคล้ายรูปหัวใจ มีขนาดเล็ก ขอบใบหยัก ใบมีสีเขียว มีขนอ่อนๆ มีก้านใบยาว มีกลิ่นหอมเฉพาะตัว ใช้ใบนำมาประกอบอาหารเมนูต่างๆ
วันศุกร์ที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561
เมล่อน นิวฮารุกิ (New Haruki F1 Melon)
เมล่อนญี่ปุ่น New Haruki F1 เป็นเมล่อนตาข่ายเนื้อสีส้ม ซึ่งได้รับการปรับปรุงพัฒนาสายพันธุ์มาจาก บริษัท Kobayashi Seed Co. JP เพื่อมาทดแทนเมล่อน Haruki F1 ตัวเดิม โดยข้อมูลที่ทางญี่ปุ่นแจ้งมา สำหรับเมล่อน New Haruki F1 คือ
- เป็นเมล่อนเปลือกเขียว ผลทรงกลม เนื้อมีสีส้มเข้ม เนื้อนุ่มละเอียด ฉ่ำน้ำ. ลายตาข่ายนูนสีเทา
- อายุเก็บเกี่ยว 45 - 50 วันหลังผสมเกสร
- น้ำหนัก 1,500 g. - 2,000 g.
- ระดับความหวาน 14 - 18 องศาบริกซ์
โดยซึ่งทางเซนฯ ได้รับเมล็ดมาช่วงปลายเดือนตุลาคม 2560 ที่ผ่านมา และได้ทำการทดลองปลูกเมล่อนตัวใหม่นี้ในระบบไฮโดรโพนิกส์ DRFT แบบหมุนเวียนสารละลาย ในช่วงต้นฤดูหนาวทีผ่านมา ผลจากการทดสอบ เมล็ดเมล่อนตัวใหม่นี้มีอัตราการงอกอยู่ที่ประมาณ 98% การเจริญเติบโตดีมาก แม้จะปลูกในช่วงฤดูหนาว. ลำต้นและใบมีขนาดใหญ่กว่าฮารุกิตัวเดิม. เปลือกมีสีเข้ม. มีลายตาข่ายนูนชัดเจน.
จากการทดลองผ่าทดสอบเนื้อด้านใน หลังผสมเกสรได้ 45 - 55 วัน เนื้อด้านในมีสีส้มเข้มสวยงามแบบฮารุกิตัวเดิม. เนื้อมีกลิ่นหอม ข้อแตกต่างจากฮารุกิตัวเดิมคือ มีเปลือกที่บางกว่าฮารุกิตัวเดิมมาก มีเนื้อหนา ไส้ในเล็ก. ทดสอบความหวานได้ 15 องศาบริกส์ เนื้อมีความนุ่มละเอียดมากกว่าฮารุกิตัวเดิม
สรุป เมล่อน New Haruki F1 นี้ มีลักษณะเด่นกว่าตัวเมล่อน ฮารุกิ ตัวเดิมคือ.
- มีปริมาณเนื้อ ที่มากขึ้น (เปลือกบาง) น้ำหนักเฉลี่ยต่อผล 1.5 - 2.0 Kg.
- มีเนื้อสีส้มเข้ม มีกลิ่นหอม เนื้อจะกึ่งนุ่ม กึ่งกรอบ ฉ่ำน้ำ เนื้อไม่แข็งเท่าฮารุกิตัวเดิม
- มีต้นแข็งแรง เจริญเติบโตเร็ว มีความต้านทานต่อโรคและแมลงได้ดี (ทดสอบช่วงฤดูหนาว อุณภูมิเฉลี่ย 18 - 30 องศา C)
- ทำความหวานง่ายกว่าฮารุกิ ตัวเดิม (โดยจากการทดสอบนี้ทางเซนฯ ได้ทำความหวานไปแค่ 1 ครั้งเท่านั้น) ได้ความหวานอยู่ที่ 15%
*** ขอสงวนสิทธิ์ในการนำรูปภาพของทางเซนฯ ไปใช้ก่อนได้รับอนุญาต ***
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)