วันพุธที่ 20 พฤษภาคม พ.ศ. 2558

มะเขือม่วงยักษ์ แบล็คบิวตี้ (ฺBlack Beauty Eggplant)


          มะเขือม่วง จัดเป็นพืชล้มลุกหรือไม้พุ่มขนาดเล็ก มีความสูงประมาณ 1 - 1.5 เมตร ลำต้นมีขนอ่อนปกคลุมอยู่ทั่วไปของลำต้นและใบ บางสายพันธุ์อาจจะมีหนามเล็กๆ อยู่บ้าง  สามารถออกดอกและให้ผลผลิตได้ตลอดทั้งปี ขยายพันธุ์ด้วยการใช้เมล็ด


          ลักษณะของใบเป็นใบเลี้ยงเดี่ยว ออกสลับข้างกัน ใบมีรูปร่างค่อนข้างกลม  มีปลายใบแหลม  ขอบใบมีหยัก

          ดอกจะออกตามซอกใบ เป็นดอกแบบสมบูรณ์เพศ มีกลีบเลี้ยงดอกเป็นสีเขียว แต่ถ้าเป็นมะเขือม่วงสายพันธุ์ญี่ปุ่นกลีบเลี้ยงดอกจะเป็นสีม่วงหรือสีดำ  กลีบดอกมีสีม่วง 5 กลีบ ดอกจะบายอยู่ประมาณ 2 - 3 วัน

          ผลมีลักษณะกลมรี รูปหยดน้ำ ผิวเรียบเป็นมันเงา ถ้าผลถูกแสงแดดมากๆจะเปลี่ยนจากสีน้ำตาลหรือม่วงเป็นสีดำเข้ม  น้ำหนักเฉลี่ยของผลอยู่ที่ประมาณ 400 - 600 กรัม




การเพาะเมล็ด
          เช่นเดียวกับพืชตระกูลพริกต่างๆ ให้นำเมล็ดมาแช่น้ำอุ่นประมาณ 50 องศาเซลเซียส โดยแช่ทิ้งไว้ประมาณ 3 - 4 ชั่วโมง หรือจนกว่าเมล็ดจะจมน้ำ  จากนั้นให้นำเมล็ดมาเพาะในกล่องพลาสติกถนอมอาหารโดยวางรองด้วยกระดาษชำระพรมน้ำให้ชุ่ม จากนั้นปิดฝาให้สนิท นำไปตากแดดในช่วงเช้าประมาณ 2 - 3 ชั่วโมง จะทำให้เมล็ดงอกเร็วขึ้น โดยปกติจะใช้เวลาในการงอกประมาณ 5 - 10 วัน เมื่อเมล็ดเริ่มงอกก็นำไปเพาะลงวัสดุปลูกต่อไป



มะเขือเทศเชอรี่ลูกแพร์ สีเหลือง (Yellow Pear Cherry Tomato)



วิธีการเพาะเมล็ด
1. การเพาะเมล็ดมะเขือเทศ
         นำเมล็ดพันธุ์มะเขือเทศแช่ในน้ำสะอาดประมาณ ประมาณ ไม่เกิน 1 สัปดาห์ จะสังเกตุเห็นรากสีขาวโผล่ออกจากเมล็ดให้รีบย้ายปลูกได้เลยครับ


2. การเพาะกล้า
 บรรจุวัสดุเพาะกล้า (พีทมอส, เพอร์ไลท์, ฟองน้ำ ฯลฯ) 

 นำเมล็ดทีบ่มการงอกมาหยอดลงในถาดเพาะโดยวางให้เมล็ดอยู่ในแนวนอนทำมุมประมาณ 45 องศา และปลายรากแทงลงวัสดุเพาะ ระวังอย่าให้รากอ่อนของเมล็ดหักหรือแห้ง กลบด้วยวัสดุเพาะกล้า แล้วกดทับเบาๆ

 รดน้ำให้ชุ่ม นำไปเก็บในโรงเรือนเพาะกล้า หรือบริเวณที่มีแสงแดดรำไร

 รดน้ำทุกวัน เพื่อให้วัสดุเพาะกล้าชุ่มอยู่เสมอ จนอายุกล้าได้ 20-30 วัน ก็สามารถย้ายปลูกได้เลยครับ


3. การย้ายกล้า
ควรย้ายกล้าเมื่อมีใบแท้ 4-5 ใบ หรืออายุไม่เกิน 20-30 วัน ข้อควรระวังในการย้ายกล้าลงปลูกในแปลง ควรปฏิบัติดังนี้
1. หากมีการเคลื่อนย้ายต้นกล้าจากโรงเรือนไปแปลงเพาะปลูกที่มีระยะห่างกันมาก ควรพักต้นกล้าก่อน  ปลูกอย่างน้อย 1 วัน

2. ก่อนปลูก 2 วัน ควรรดน้ำแปลงให้ชุ่ม และพ่นสารป้องกันกำจัดแมลงและโรคพืช

3.  ควรย้ายกล้าในช่วงเย็น อากาศไม่ร้อนแดดไม่จัด

4.  หลุมปลูกควรมีความลึกและกว้าง เท่ากับขนาดหลุมของถาดเพาะกล้า

5. ควรระวังอย่าให้วัสดุเพาะแตกหรือรากขาด เพราะจะทำให้ต้นกล้าชะงักการเจริญเติบโต (ควรฉีดยาป้องกันเชื้อราร่วมด้วย)

6.  เวลาย้ายต้นกล้าจากถาดเพาะลงแปลง ให้จับบริเวณปลายยอดไม่ควรดึงหรือบีบบริเวณโคนต้นกลบดินครอบคลุมโดนต้นกล้า


การตัดแต่งมะเขือเทศ
สำหรับมะเขือเทศเชอร์รี่ลูกแพร์ จะมีจำนวนผลต่อกิ่งประมาณ 9 - 10 ลูก แต่เพื่อความสมบูรณ์ของผลเราจึง ควรมีการจำกัดจำนวนผลใน 1 ช่อ โดยการตัดผลส่วนปลายออกบางส่วน    คงเหลือไว้ 6 -8 ผลต่อช่อ เพื่อให้ผลที่สมบูรณ์ที่สุด



ขั้นตอนการตัดแต่งแขนง
มะเขือเทศควรมีการตัดแต่งและเด็ดแขนงด้านข้าง และใบแก่ด้านล่างที่ต่ำกว่าช่อดอกออก (ตามภาพด้านล่าง) เพื่อทำให้ต้นพืชมีการระบายอากาศได้ดี ซึ่งช่วยลดการเข้าทำลายของโรค  และควรเด็ดแขนงด้านข้างก่อนยาวมากกว่า 5 ซม. ควรตัดแต่งในช่วงตอนเช้า เพื่อให้แสงแดดช่วยในการปิดบาดแผล และต้นพืชสามารถรักษาแผลได้เร็ว ป้องกันการเข้าทำลายของโรคผ่านทางบาดแผล  หลังจากต้นมะเขือสูงได้ประมาณ 1.8 ม. ให้ตัดยอดต้นมะเขือออกด้วย เนื่องจากผลผลิตที่ได้จากด้านบนคุณภาพจะเริ่มลดลง
 

หมายเหตุ  กิ่งแขนงหรือลำต้นส่วนใดส่วนหนึ่งของต้นมะเขือเทศสามารถนำมาปลูกต่อได้โดยการนำกิ่งนั้นไปแช่น้ำประมาณ 7 - 10 วันจะเริ่มมีรากงอกออกมาจากกิ่งนั้น หลังจากนั้นสามารถนำกิ่งนั้นไปปลูกต่อได้โดยไม่ต้องเพาะเมล็ดใหม่



ขั้นตอนการผสมดอก
1. ในโรงเรือน การผสมเกสรของมะเขือเทศจะอาศัยผึ้งในการผสมเกสร โดยผึ้งจะถูกนำมาใส่ไว้ตั้งแต่เริ่มเกิดดอกแรก

2. ถ้าไม่ใช้ผึ้ง การผสมเกสรจะสามารถทำได้โดยการเขย่าดอก โดยทำการเขย่า 3 ครั้งต่อสัปดาห์

หมายเหตุ:
เมื่ออุณภูมิกลางคืนต่ำกว่า 10 C และต่ำเป็นช่วงเวลายาวระหว่างกลางวัน จะทำให้มะเขือเทศลดจำนวนและความมีชีวิตของเกสรลง ถ้าไม่มีเกสรก็ไม่มีประโยชน์ในการใช้ผึ้งหรือการเขย่า ดังนั้นการใช้ฮอร์โมนจึงถูกนำมาใช้  ฮอร์โมนที่ใช้ช่วยให้ติดผลได้ แต่การใช้ฮอร์โมนช่วยในการติดผล จะส่งผลทำให้รูปร่างผลผิดปกติด้วย


อายุการเก็บเกี่ยว

ขึ้นกับสายพันธุ์และชนิดของมะเขือเทศ
1. Cherry type   40-50 วันหลังย้ายกล้า
2. Seda type     50-60 วันหลังย้ายกล้า
3. Processing , Roma , Table type   60-75 วันหลังย้ายกล้า

มะเขือเทศเชอรี่ลูกแพร์ สีแดง (Red Pear Cherry Tomato)


วิธีการเพาะเมล็ด
1. การเพาะเมล็ดมะเขือเทศ
         นำเมล็ดพันธุ์มะเขือเทศแช่ในน้ำสะอาดประมาณ ประมาณ ไม่เกิน 1 สัปดาห์ จะสังเกตุเห็นรากสีขาวโผล่ออกจากเมล็ดให้รีบย้ายปลูกได้เลยครับ


2. การเพาะกล้า
 บรรจุวัสดุเพาะกล้า (พีทมอส, เพอร์ไลท์, ฟองน้ำ ฯลฯ) 

 นำเมล็ดทีบ่มการงอกมาหยอดลงในถาดเพาะโดยวางให้เมล็ดอยู่ในแนวนอนทำมุมประมาณ 45 องศา และปลายรากแทงลงวัสดุเพาะ ระวังอย่าให้รากอ่อนของเมล็ดหักหรือแห้ง กลบด้วยวัสดุเพาะกล้า แล้วกดทับเบาๆ

 รดน้ำให้ชุ่ม นำไปเก็บในโรงเรือนเพาะกล้า หรือบริเวณที่มีแสงแดดรำไร

 รดน้ำทุกวัน เพื่อให้วัสดุเพาะกล้าชุ่มอยู่เสมอ จนอายุกล้าได้ 20-30 วัน ก็สามารถย้ายปลูกได้เลยครับ


3. การย้ายกล้า
ควรย้ายกล้าเมื่อมีใบแท้ 4-5 ใบ หรืออายุไม่เกิน 20-30 วัน ข้อควรระวังในการย้ายกล้าลงปลูกในแปลง ควรปฏิบัติดังนี้
1. หากมีการเคลื่อนย้ายต้นกล้าจากโรงเรือนไปแปลงเพาะปลูกที่มีระยะห่างกันมาก ควรพักต้นกล้าก่อน  ปลูกอย่างน้อย 1 วัน

2. ก่อนปลูก 2 วัน ควรรดน้ำแปลงให้ชุ่ม และพ่นสารป้องกันกำจัดแมลงและโรคพืช

3.  ควรย้ายกล้าในช่วงเย็น อากาศไม่ร้อนแดดไม่จัด

4.  หลุมปลูกควรมีความลึกและกว้าง เท่ากับขนาดหลุมของถาดเพาะกล้า

5. ควรระวังอย่าให้วัสดุเพาะแตกหรือรากขาด เพราะจะทำให้ต้นกล้าชะงักการเจริญเติบโต (ควรฉีดยาป้องกันเชื้อราร่วมด้วย)

6.  เวลาย้ายต้นกล้าจากถาดเพาะลงแปลง ให้จับบริเวณปลายยอดไม่ควรดึงหรือบีบบริเวณโคนต้นกลบดินครอบคลุมโดนต้นกล้า


การตัดแต่งมะเขือเทศ
สำหรับมะเขือเทศเชอร์รี่ลูกแพร์ จะมีจำนวนผลต่อกิ่งประมาณ 9 - 10 ลูก แต่เพื่อความสมบูรณ์ของผลเราจึง ควรมีการจำกัดจำนวนผลใน 1 ช่อ โดยการตัดผลส่วนปลายออกบางส่วน    คงเหลือไว้ 6 -8 ผลต่อช่อ เพื่อให้ผลที่สมบูรณ์ที่สุด



ขั้นตอนการตัดแต่งแขนง
มะเขือเทศควรมีการตัดแต่งและเด็ดแขนงด้านข้าง และใบแก่ด้านล่างที่ต่ำกว่าช่อดอกออก (ตามภาพด้านล่าง) เพื่อทำให้ต้นพืชมีการระบายอากาศได้ดี ซึ่งช่วยลดการเข้าทำลายของโรค  และควรเด็ดแขนงด้านข้างก่อนยาวมากกว่า 5 ซม. ควรตัดแต่งในช่วงตอนเช้า เพื่อให้แสงแดดช่วยในการปิดบาดแผล และต้นพืชสามารถรักษาแผลได้เร็ว ป้องกันการเข้าทำลายของโรคผ่านทางบาดแผล  หลังจากต้นมะเขือสูงได้ประมาณ 1.8 ม. ให้ตัดยอดต้นมะเขือออกด้วย เนื่องจากผลผลิตที่ได้จากด้านบนคุณภาพจะเริ่มลดลง
 

หมายเหตุ  กิ่งแขนงหรือลำต้นส่วนใดส่วนหนึ่งของต้นมะเขือเทศสามารถนำมาปลูกต่อได้โดยการนำกิ่งนั้นไปแช่น้ำประมาณ 7 - 10 วันจะเริ่มมีรากงอกออกมาจากกิ่งนั้น หลังจากนั้นสามารถนำกิ่งนั้นไปปลูกต่อได้โดยไม่ต้องเพาะเมล็ดใหม่



ขั้นตอนการผสมดอก
1. ในโรงเรือน การผสมเกสรของมะเขือเทศจะอาศัยผึ้งในการผสมเกสร โดยผึ้งจะถูกนำมาใส่ไว้ตั้งแต่เริ่มเกิดดอกแรก

2. ถ้าไม่ใช้ผึ้ง การผสมเกสรจะสามารถทำได้โดยการเขย่าดอก โดยทำการเขย่า 3 ครั้งต่อสัปดาห์

หมายเหตุ:
เมื่ออุณภูมิกลางคืนต่ำกว่า 10 C และต่ำเป็นช่วงเวลายาวระหว่างกลางวัน จะทำให้มะเขือเทศลดจำนวนและความมีชีวิตของเกสรลง ถ้าไม่มีเกสรก็ไม่มีประโยชน์ในการใช้ผึ้งหรือการเขย่า ดังนั้นการใช้ฮอร์โมนจึงถูกนำมาใช้  ฮอร์โมนที่ใช้ช่วยให้ติดผลได้ แต่การใช้ฮอร์โมนช่วยในการติดผล จะส่งผลทำให้รูปร่างผลผิดปกติด้วย


อายุการเก็บเกี่ยว

ขึ้นกับสายพันธุ์และชนิดของมะเขือเทศ
1. Cherry type   40-50 วันหลังย้ายกล้า
2. Seda type     50-60 วันหลังย้ายกล้า
3. Processing , Roma , Table type   60-75 วันหลังย้ายกล้า


มะเขือเทศเชอรี่ เรดกาเน็ท (Red Garnet Cherry Tomato)


วิธีการเพาะเมล็ด
1. การเพาะเมล็ดมะเขือเทศ
         นำเมล็ดพันธุ์มะเขือเทศแช่ในน้ำสะอาดประมาณ ประมาณ ไม่เกิน 1 สัปดาห์ จะสังเกตุเห็นรากสีขาวโผล่ออกจากเมล็ดให้รีบย้ายปลูกได้เลยครับ


2. การเพาะกล้า
 บรรจุวัสดุเพาะกล้า (พีทมอส, เพอร์ไลท์, ฟองน้ำ ฯลฯ) 

 นำเมล็ดทีบ่มการงอกมาหยอดลงในถาดเพาะโดยวางให้เมล็ดอยู่ในแนวนอนทำมุมประมาณ 45 องศา และปลายรากแทงลงวัสดุเพาะ ระวังอย่าให้รากอ่อนของเมล็ดหักหรือแห้ง กลบด้วยวัสดุเพาะกล้า แล้วกดทับเบาๆ

 รดน้ำให้ชุ่ม นำไปเก็บในโรงเรือนเพาะกล้า หรือบริเวณที่มีแสงแดดรำไร

 รดน้ำทุกวัน เพื่อให้วัสดุเพาะกล้าชุ่มอยู่เสมอ จนอายุกล้าได้ 20-30 วัน ก็สามารถย้ายปลูกได้เลยครับ


3. การย้ายกล้า
ควรย้ายกล้าเมื่อมีใบแท้ 4-5 ใบ หรืออายุไม่เกิน 20-30 วัน ข้อควรระวังในการย้ายกล้าลงปลูกในแปลง ควรปฏิบัติดังนี้
1. หากมีการเคลื่อนย้ายต้นกล้าจากโรงเรือนไปแปลงเพาะปลูกที่มีระยะห่างกันมาก ควรพักต้นกล้าก่อน  ปลูกอย่างน้อย 1 วัน

2. ก่อนปลูก 2 วัน ควรรดน้ำแปลงให้ชุ่ม และพ่นสารป้องกันกำจัดแมลงและโรคพืช

3.  ควรย้ายกล้าในช่วงเย็น อากาศไม่ร้อนแดดไม่จัด

4.  หลุมปลูกควรมีความลึกและกว้าง เท่ากับขนาดหลุมของถาดเพาะกล้า

5. ควรระวังอย่าให้วัสดุเพาะแตกหรือรากขาด เพราะจะทำให้ต้นกล้าชะงักการเจริญเติบโต (ควรฉีดยาป้องกันเชื้อราร่วมด้วย)

6.  เวลาย้ายต้นกล้าจากถาดเพาะลงแปลง ให้จับบริเวณปลายยอดไม่ควรดึงหรือบีบบริเวณโคนต้นกลบดินครอบคลุมโดนต้นกล้า


การตัดแต่งมะเขือเทศ
สำหรับมะเขือเทศเชอรี่ เรดกาเน็ท จะมีจำนวนผลต่อกิ่งประมาณ 10 - 15 ลูก แต่เพื่อความสมบูรณ์ของผลเราจึง ควรมีการจำกัดจำนวนผลใน 1 ช่อ โดยการตัดผลส่วนปลายออกบางส่วน    คงเหลือไว้ 8 -10 ผลต่อช่อ เพื่อให้ผลมีขนาดใหญ่ มีสม่ำเสมอ และได้ความหวานสูงสุด



ขั้นตอนการตัดแต่งแขนง
มะเขือเทศควรมีการตัดแต่งและเด็ดแขนงด้านข้าง และใบแก่ด้านล่างที่ต่ำกว่าช่อดอกออก (ตามภาพด้านล่าง) เพื่อทำให้ต้นพืชมีการระบายอากาศได้ดี ซึ่งช่วยลดการเข้าทำลายของโรค  และควรเด็ดแขนงด้านข้างก่อนยาวมากกว่า 5 ซม. ควรตัดแต่งในช่วงตอนเช้า เพื่อให้แสงแดดช่วยในการปิดบาดแผล และต้นพืชสามารถรักษาแผลได้เร็ว ป้องกันการเข้าทำลายของโรคผ่านทางบาดแผล  หลังจากต้นมะเขือสูงได้ประมาณ 1.8 ม. ให้ตัดยอดต้นมะเขือออกด้วย เนื่องจากผลผลิตที่ได้จากด้านบนคุณภาพจะเริ่มลดลง
 

หมายเหตุ  กิ่งแขนงหรือลำต้นส่วนใดส่วนหนึ่งของต้นมะเขือเทศสามารถนำมาปลูกต่อได้โดยการนำกิ่งนั้นไปแช่น้ำประมาณ 7 - 10 วันจะเริ่มมีรากงอกออกมาจากกิ่งนั้น หลังจากนั้นสามารถนำกิ่งนั้นไปปลูกต่อได้โดยไม่ต้องเพาะเมล็ดใหม่



ขั้นตอนการผสมดอก
1. ในโรงเรือน การผสมเกสรของมะเขือเทศจะอาศัยผึ้งในการผสมเกสร โดยผึ้งจะถูกนำมาใส่ไว้ตั้งแต่เริ่มเกิดดอกแรก

2. ถ้าไม่ใช้ผึ้ง การผสมเกสรจะสามารถทำได้โดยการเขย่าดอก โดยทำการเขย่า 3 ครั้งต่อสัปดาห์

หมายเหตุ:
เมื่ออุณภูมิกลางคืนต่ำกว่า 10 C และต่ำเป็นช่วงเวลายาวระหว่างกลางวัน จะทำให้มะเขือเทศลดจำนวนและความมีชีวิตของเกสรลง ถ้าไม่มีเกสรก็ไม่มีประโยชน์ในการใช้ผึ้งหรือการเขย่า ดังนั้นการใช้ฮอร์โมนจึงถูกนำมาใช้  ฮอร์โมนที่ใช้ช่วยให้ติดผลได้ แต่การใช้ฮอร์โมนช่วยในการติดผล จะส่งผลทำให้รูปร่างผลผิดปกติด้วย


อายุการเก็บเกี่ยว

ขึ้นกับสายพันธุ์และชนิดของมะเขือเทศ
1. Cherry type   40-50 วันหลังย้ายกล้า
2. Seda type     50-60 วันหลังย้ายกล้า
3. Processing , Roma , Table type   60-75 วันหลังย้ายกล้า

มะเขือเทศเชอรี่จิ๋ว แมท ไวล์ด (ฺMatt's wild Cherry Tomato)



วิธีการเพาะเมล็ด
1. การเพาะเมล็ดมะเขือเทศ
         นำเมล็ดพันธุ์มะเขือเทศแช่ในน้ำสะอาดประมาณ ประมาณ ไม่เกิน 1 สัปดาห์ จะสังเกตุเห็นรากสีขาวโผล่ออกจากเมล็ดให้รีบย้ายปลูกได้เลยครับ


2. การเพาะกล้า
 บรรจุวัสดุเพาะกล้า (พีทมอส, เพอร์ไลท์, ฟองน้ำ ฯลฯ) 

 นำเมล็ดทีบ่มการงอกมาหยอดลงในถาดเพาะโดยวางให้เมล็ดอยู่ในแนวนอนทำมุมประมาณ 45 องศา และปลายรากแทงลงวัสดุเพาะ ระวังอย่าให้รากอ่อนของเมล็ดหักหรือแห้ง กลบด้วยวัสดุเพาะกล้า แล้วกดทับเบาๆ

 รดน้ำให้ชุ่ม นำไปเก็บในโรงเรือนเพาะกล้า หรือบริเวณที่มีแสงแดดรำไร

 รดน้ำทุกวัน เพื่อให้วัสดุเพาะกล้าชุ่มอยู่เสมอ จนอายุกล้าได้ 20-30 วัน ก็สามารถย้ายปลูกได้เลยครับ


3. การย้ายกล้า
ควรย้ายกล้าเมื่อมีใบแท้ 4-5 ใบ หรืออายุไม่เกิน 20-30 วัน ข้อควรระวังในการย้ายกล้าลงปลูกในแปลง ควรปฏิบัติดังนี้
1. หากมีการเคลื่อนย้ายต้นกล้าจากโรงเรือนไปแปลงเพาะปลูกที่มีระยะห่างกันมาก ควรพักต้นกล้าก่อน  ปลูกอย่างน้อย 1 วัน

2. ก่อนปลูก 2 วัน ควรรดน้ำแปลงให้ชุ่ม และพ่นสารป้องกันกำจัดแมลงและโรคพืช

3.  ควรย้ายกล้าในช่วงเย็น อากาศไม่ร้อนแดดไม่จัด

4.  หลุมปลูกควรมีความลึกและกว้าง เท่ากับขนาดหลุมของถาดเพาะกล้า

5. ควรระวังอย่าให้วัสดุเพาะแตกหรือรากขาด เพราะจะทำให้ต้นกล้าชะงักการเจริญเติบโต (ควรฉีดยาป้องกันเชื้อราร่วมด้วย)

6.  เวลาย้ายต้นกล้าจากถาดเพาะลงแปลง ให้จับบริเวณปลายยอดไม่ควรดึงหรือบีบบริเวณโคนต้นกลบดินครอบคลุมโดนต้นกล้า


การตัดแต่งมะเขือเทศ
สำหรับมะเขือเทศเชอรี่จิ๋ว แมทไวล์ด จะมีจำนวนผลต่อกิ่งประมาณ 8 - 10 ลูก ให้เก็บได้ทั้งพวงโดยไม่ต้องตัดผลด้านล่างออกทิ้ง


ขั้นตอนการตัดแต่งแขนง
มะเขือเทศควรมีการตัดแต่งและเด็ดแขนงด้านข้าง และใบแก่ด้านล่างที่ต่ำกว่าช่อดอกออก (ตามภาพด้านล่าง) เพื่อทำให้ต้นพืชมีการระบายอากาศได้ดี ซึ่งช่วยลดการเข้าทำลายของโรค  และควรเด็ดแขนงด้านข้างก่อนยาวมากกว่า 5 ซม. ควรตัดแต่งในช่วงตอนเช้า เพื่อให้แสงแดดช่วยในการปิดบาดแผล และต้นพืชสามารถรักษาแผลได้เร็ว ป้องกันการเข้าทำลายของโรคผ่านทางบาดแผล  หลังจากต้นมะเขือสูงได้ประมาณ 1.8 ม. ให้ตัดยอดต้นมะเขือออกด้วย เนื่องจากผลผลิตที่ได้จากด้านบนคุณภาพจะเริ่มลดลง
 

หมายเหตุ  กิ่งแขนงหรือลำต้นส่วนใดส่วนหนึ่งของต้นมะเขือเทศสามารถนำมาปลูกต่อได้โดยการนำกิ่งนั้นไปแช่น้ำประมาณ 7 - 10 วันจะเริ่มมีรากงอกออกมาจากกิ่งนั้น หลังจากนั้นสามารถนำกิ่งนั้นไปปลูกต่อได้โดยไม่ต้องเพาะเมล็ดใหม่



ขั้นตอนการผสมดอก
1. ในโรงเรือน การผสมเกสรของมะเขือเทศจะอาศัยผึ้งในการผสมเกสร โดยผึ้งจะถูกนำมาใส่ไว้ตั้งแต่เริ่มเกิดดอกแรก

2. ถ้าไม่ใช้ผึ้ง การผสมเกสรจะสามารถทำได้โดยการเขย่าดอก โดยทำการเขย่า 3 ครั้งต่อสัปดาห์

หมายเหตุ:
เมื่ออุณภูมิกลางคืนต่ำกว่า 10 C และต่ำเป็นช่วงเวลายาวระหว่างกลางวัน จะทำให้มะเขือเทศลดจำนวนและความมีชีวิตของเกสรลง ถ้าไม่มีเกสรก็ไม่มีประโยชน์ในการใช้ผึ้งหรือการเขย่า ดังนั้นการใช้ฮอร์โมนจึงถูกนำมาใช้  ฮอร์โมนที่ใช้ช่วยให้ติดผลได้ แต่การใช้ฮอร์โมนช่วยในการติดผล จะส่งผลทำให้รูปร่างผลผิดปกติด้วย


อายุการเก็บเกี่ยว

ขึ้นกับสายพันธุ์และชนิดของมะเขือเทศ
1. Cherry type   40-50 วันหลังย้ายกล้า
2. Seda type     50-60 วันหลังย้ายกล้า
3. Processing , Roma , Table type   60-75 วันหลังย้ายกล้า

มะเขือเทศ อินดิโก้ โรส (Indigo Rose Tomato)


 มะเขือเทศ อินดิโก้ โรส เป็นความสำเร็จของ มหาวิทยาลัย โอเรกอน สหรัฐอเมริกาในการพัฒนาสายพันธุ์ของมะเขือเทศให้มีคุณค่าทางอาหารสูง โดยเฉพาะการพัฒนาให้มะเขือเทศสามารถผลิตสารต้านอนุมูลอิสระโดยเฉพาะสาร "แอนโทไซยานิน" ที่จะพบมากในผลไม้กลุ่มเบอรี่ที่มีสีม่วง เช่น บลูเบอรี่








วิธีการเพาะเมล็ด
1. การเพาะเมล็ดมะเขือเทศ
         นำเมล็ดพันธุ์มะเขือเทศแช่ในน้ำสะอาดประมาณ ประมาณ ไม่เกิน 1 สัปดาห์ จะสังเกตุเห็นรากสีขาวโผล่ออกจากเมล็ดให้รีบย้ายปลูกได้เลยครับ


2. การเพาะกล้า
 บรรจุวัสดุเพาะกล้า (พีทมอส, เพอร์ไลท์, ฟองน้ำ ฯลฯ) 

 นำเมล็ดทีบ่มการงอกมาหยอดลงในถาดเพาะโดยวางให้เมล็ดอยู่ในแนวนอนทำมุมประมาณ 45 องศา และปลายรากแทงลงวัสดุเพาะ ระวังอย่าให้รากอ่อนของเมล็ดหักหรือแห้ง กลบด้วยวัสดุเพาะกล้า แล้วกดทับเบาๆ

 รดน้ำให้ชุ่ม นำไปเก็บในโรงเรือนเพาะกล้า หรือบริเวณที่มีแสงแดดรำไร

 รดน้ำทุกวัน เพื่อให้วัสดุเพาะกล้าชุ่มอยู่เสมอ จนอายุกล้าได้ 20-30 วัน ก็สามารถย้ายปลูกได้เลยครับ


3. การย้ายกล้า
ควรย้ายกล้าเมื่อมีใบแท้ 4-5 ใบ หรืออายุไม่เกิน 20-30 วัน ข้อควรระวังในการย้ายกล้าลงปลูกในแปลง ควรปฏิบัติดังนี้
1. หากมีการเคลื่อนย้ายต้นกล้าจากโรงเรือนไปแปลงเพาะปลูกที่มีระยะห่างกันมาก ควรพักต้นกล้าก่อน  ปลูกอย่างน้อย 1 วัน

2. ก่อนปลูก 2 วัน ควรรดน้ำแปลงให้ชุ่ม และพ่นสารป้องกันกำจัดแมลงและโรคพืช

3.  ควรย้ายกล้าในช่วงเย็น อากาศไม่ร้อนแดดไม่จัด

4.  หลุมปลูกควรมีความลึกและกว้าง เท่ากับขนาดหลุมของถาดเพาะกล้า

5. ควรระวังอย่าให้วัสดุเพาะแตกหรือรากขาด เพราะจะทำให้ต้นกล้าชะงักการเจริญเติบโต (ควรฉีดยาป้องกันเชื้อราร่วมด้วย)

6.  เวลาย้ายต้นกล้าจากถาดเพาะลงแปลง ให้จับบริเวณปลายยอดไม่ควรดึงหรือบีบบริเวณโคนต้นกลบดินครอบคลุมโดนต้นกล้า


การตัดแต่งมะเขือเทศ
สำหรับมะเขือเทศอินดิโก้โรส  จะมีจำนวนผลต่อกิ่งประมาณ 8 - 10 ลูก แต่เพื่อความสมบูรณ์ของผลเราจึง ควรมีการจำกัดจำนวนผลใน 1 ช่อ โดยการตัดผลส่วนปลายออกบางส่วน    คงเหลือไว้ 5 - 6 ผลต่อช่อ เพื่อให้ผลมีขนาดใหญ่ มีสม่ำเสมอ และได้คุณภาพสูงสุด


ขั้นตอนการตัดแต่งแขนง
มะเขือเทศควรมีการตัดแต่งและเด็ดแขนงด้านข้าง และใบแก่ด้านล่างที่ต่ำกว่าช่อดอกออก (ตามภาพด้านล่าง) เพื่อทำให้ต้นพืชมีการระบายอากาศได้ดี ซึ่งช่วยลดการเข้าทำลายของโรค  และควรเด็ดแขนงด้านข้างก่อนยาวมากกว่า 5 ซม. ควรตัดแต่งในช่วงตอนเช้า เพื่อให้แสงแดดช่วยในการปิดบาดแผล และต้นพืชสามารถรักษาแผลได้เร็ว ป้องกันการเข้าทำลายของโรคผ่านทางบาดแผล  หลังจากต้นมะเขือสูงได้ประมาณ 1.8 ม. ให้ตัดยอดต้นมะเขือออกด้วย เนื่องจากผลผลิตที่ได้จากด้านบนคุณภาพจะเริ่มลดลง
 

หมายเหตุ  กิ่งแขนงหรือลำต้นส่วนใดส่วนหนึ่งของต้นมะเขือเทศสามารถนำมาปลูกต่อได้โดยการนำกิ่งนั้นไปแช่น้ำประมาณ 7 - 10 วันจะเริ่มมีรากงอกออกมาจากกิ่งนั้น หลังจากนั้นสามารถนำกิ่งนั้นไปปลูกต่อได้โดยไม่ต้องเพาะเมล็ดใหม่



ขั้นตอนการผสมดอก
1. ในโรงเรือน การผสมเกสรของมะเขือเทศจะอาศัยผึ้งในการผสมเกสร โดยผึ้งจะถูกนำมาใส่ไว้ตั้งแต่เริ่มเกิดดอกแรก

2. ถ้าไม่ใช้ผึ้ง การผสมเกสรจะสามารถทำได้โดยการเขย่าดอก โดยทำการเขย่า 3 ครั้งต่อสัปดาห์

หมายเหตุ:
เมื่ออุณภูมิกลางคืนต่ำกว่า 10 C และต่ำเป็นช่วงเวลายาวระหว่างกลางวัน จะทำให้มะเขือเทศลดจำนวนและความมีชีวิตของเกสรลง ถ้าไม่มีเกสรก็ไม่มีประโยชน์ในการใช้ผึ้งหรือการเขย่า ดังนั้นการใช้ฮอร์โมนจึงถูกนำมาใช้  ฮอร์โมนที่ใช้ช่วยให้ติดผลได้ แต่การใช้ฮอร์โมนช่วยในการติดผล จะส่งผลทำให้รูปร่างผลผิดปกติด้วย


อายุการเก็บเกี่ยว

ขึ้นกับสายพันธุ์และชนิดของมะเขือเทศ
1. Cherry type   40-50 วันหลังย้ายกล้า
2. Seda type     50-60 วันหลังย้ายกล้า
3. Processing , Roma , Table type   60-75 วันหลังย้ายกล้า

มะเขือเทศหวาน ซุปเปอร์สวีท 100 (Super Sweet 100 Cherry Tomato)


              มะเขือเทศเชอรี่หวาน ซุปเปอร์ สวีท 100 เป็นมะเขือเทศเชอรี่สายพันธุ์ดั่งเดิมที่คนยุโรป และอเมริการู้จักกันเป็นอย่างดี ด้วยความหวานประมาณ 7 - 8 Brix  ถึงแม้ว่ามะเขือเทศ ซูปเปอร์ สวีท 100 นี้จะมีความหวานและสีที่ไม่เข้มเท่ากับมะเขือเทศ สายพันธุ์น้องใหม่จากญี่ปุ่นอย่าง "ซันเชอรี่" ก็ตาม แต่ด้วยปริมาณผลผลิตที่มีมากกว่ามะเขือเทศเชอรี่หวานสายพันธุ์อื่นๆ (เฉลี่ยมากกว่า 100 ลูกต่อต้น) ทำให้มะเขือเทศซุปเปอร์ สวีท 100 ยังคงได้รับความนิยมอย่างมากในกลุ่มเกษตรกรผู้ปลูกมะเขือเทศเชอรี่หวานมาจนถึงปัจจุบันนี้




วิธีการเพาะเมล็ด
1. การเพาะเมล็ดมะเขือเทศ
         นำเมล็ดพันธุ์มะเขือเทศแช่ในน้ำสะอาดประมาณ ประมาณ ไม่เกิน 1 สัปดาห์ จะสังเกตุเห็นรากสีขาวโผล่ออกจากเมล็ดให้รีบย้ายปลูกได้เลยครับ


2. การเพาะกล้า
 บรรจุวัสดุเพาะกล้า (พีทมอส, เพอร์ไลท์, ฟองน้ำ ฯลฯ) 

 นำเมล็ดทีบ่มการงอกมาหยอดลงในถาดเพาะโดยวางให้เมล็ดอยู่ในแนวนอนทำมุมประมาณ 45 องศา และปลายรากแทงลงวัสดุเพาะ ระวังอย่าให้รากอ่อนของเมล็ดหักหรือแห้ง กลบด้วยวัสดุเพาะกล้า แล้วกดทับเบาๆ

 รดน้ำให้ชุ่ม นำไปเก็บในโรงเรือนเพาะกล้า หรือบริเวณที่มีแสงแดดรำไร

 รดน้ำทุกวัน เพื่อให้วัสดุเพาะกล้าชุ่มอยู่เสมอ จนอายุกล้าได้ 20-30 วัน ก็สามารถย้ายปลูกได้เลยครับ


3. การย้ายกล้า
ควรย้ายกล้าเมื่อมีใบแท้ 4-5 ใบ หรืออายุไม่เกิน 20-30 วัน ข้อควรระวังในการย้ายกล้าลงปลูกในแปลง ควรปฏิบัติดังนี้
1. หากมีการเคลื่อนย้ายต้นกล้าจากโรงเรือนไปแปลงเพาะปลูกที่มีระยะห่างกันมาก ควรพักต้นกล้าก่อน  ปลูกอย่างน้อย 1 วัน

2. ก่อนปลูก 2 วัน ควรรดน้ำแปลงให้ชุ่ม และพ่นสารป้องกันกำจัดแมลงและโรคพืช

3.  ควรย้ายกล้าในช่วงเย็น อากาศไม่ร้อนแดดไม่จัด

4.  หลุมปลูกควรมีความลึกและกว้าง เท่ากับขนาดหลุมของถาดเพาะกล้า

5. ควรระวังอย่าให้วัสดุเพาะแตกหรือรากขาด เพราะจะทำให้ต้นกล้าชะงักการเจริญเติบโต (ควรฉีดยาป้องกันเชื้อราร่วมด้วย)

6.  เวลาย้ายต้นกล้าจากถาดเพาะลงแปลง ให้จับบริเวณปลายยอดไม่ควรดึงหรือบีบบริเวณโคนต้นกลบดินครอบคลุมโดนต้นกล้า


การตัดแต่งมะเขือเทศ
สำหรับมะเขือเทศหวาน ซุปเปอร์ สวีท 100 จะมีจำนวนผลต่อกิ่งประมาณ 20 - 30 ลูก แต่เพื่อความสมบูรณ์ของผลเราจึง ควรมีการจำกัดจำนวนผลใน 1 ช่อ โดยการตัดผลส่วนปลายออกบางส่วน    คงเหลือไว้ 10 -15 ผลต่อช่อ เพื่อให้ผลมีขนาดใหญ่ มีสม่ำเสมอ และได้ความหวานสูงสุด


ขั้นตอนการตัดแต่งแขนง
มะเขือเทศควรมีการตัดแต่งและเด็ดแขนงด้านข้าง และใบแก่ด้านล่างที่ต่ำกว่าช่อดอกออก (ตามภาพด้านล่าง) เพื่อทำให้ต้นพืชมีการระบายอากาศได้ดี ซึ่งช่วยลดการเข้าทำลายของโรค  และควรเด็ดแขนงด้านข้างก่อนยาวมากกว่า 5 ซม. ควรตัดแต่งในช่วงตอนเช้า เพื่อให้แสงแดดช่วยในการปิดบาดแผล และต้นพืชสามารถรักษาแผลได้เร็ว ป้องกันการเข้าทำลายของโรคผ่านทางบาดแผล  หลังจากต้นมะเขือสูงได้ประมาณ 1.8 ม. ให้ตัดยอดต้นมะเขือออกด้วย เนื่องจากผลผลิตที่ได้จากด้านบนคุณภาพจะเริ่มลดลง
 

หมายเหตุ  กิ่งแขนงหรือลำต้นส่วนใดส่วนหนึ่งของต้นมะเขือเทศสามารถนำมาปลูกต่อได้โดยการนำกิ่งนั้นไปแช่น้ำประมาณ 7 - 10 วันจะเริ่มมีรากงอกออกมาจากกิ่งนั้น หลังจากนั้นสามารถนำกิ่งนั้นไปปลูกต่อได้โดยไม่ต้องเพาะเมล็ดใหม่



ขั้นตอนการผสมดอก
1. ในโรงเรือน การผสมเกสรของมะเขือเทศจะอาศัยผึ้งในการผสมเกสร โดยผึ้งจะถูกนำมาใส่ไว้ตั้งแต่เริ่มเกิดดอกแรก

2. ถ้าไม่ใช้ผึ้ง การผสมเกสรจะสามารถทำได้โดยการเขย่าดอก โดยทำการเขย่า 3 ครั้งต่อสัปดาห์

หมายเหตุ:
เมื่ออุณภูมิกลางคืนต่ำกว่า 10 C และต่ำเป็นช่วงเวลายาวระหว่างกลางวัน จะทำให้มะเขือเทศลดจำนวนและความมีชีวิตของเกสรลง ถ้าไม่มีเกสรก็ไม่มีประโยชน์ในการใช้ผึ้งหรือการเขย่า ดังนั้นการใช้ฮอร์โมนจึงถูกนำมาใช้  ฮอร์โมนที่ใช้ช่วยให้ติดผลได้ แต่การใช้ฮอร์โมนช่วยในการติดผล จะส่งผลทำให้รูปร่างผลผิดปกติด้วย


อายุการเก็บเกี่ยว

ขึ้นกับสายพันธุ์และชนิดของมะเขือเทศ
1. Cherry type   40-50 วันหลังย้ายกล้า
2. Seda type     50-60 วันหลังย้ายกล้า
3. Processing , Roma , Table type   60-75 วันหลังย้ายกล้า

วันพฤหัสบดีที่ 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2558

การปลูกพืชในวัสดุทดแทนดิน (Substrate culture)

Microgreens growing media by Grow-TEch

          การปลูกพืชโดยใช้วัสดุอื่นทดแทนการใช้ดิน เป็นการปลูกแบบไฮโดรโพนิกส์อีกประเภทหนึ่ง เพื่อแก้ไขปัญหาการทำการเกษตรในพื้นที่ ดินอยู่ในสภาพที่ไม่เหมาะสมต่อการเพาะปลูก

          การปลูกในวัสดุทดแทนดิน ยังเป็นการปลูกพืชที่ช่วยแก้ไขปัญหาการขาดอ๊อกซิเจนที่รากในพืชต่างๆ เช่น มะเขือเทศ, พริกหวาน, แตงกวา, เมล่อน ฯลฯ โดยพืชเหล่านี้เป็นพืชที่ต้องการอ๊อกซิเจนที่รากค่อนข้างมาก   ซึ่งการปลูกพืชแบบรากแช่ในสารละลาย ในพื้นที่อากาศร้อนมักประสบปัญหาอุณหภูมิของน้ำสูงเกินไป ทำให้รากพืชขาดอ๊อกซิเจน จนทำให้พืชนั้นอ่อนแอ และเกิดโรคขึ้นได้ง่าย

          การปลูกพืชด้วยวิธีนี้เป็นการนำวัสดุชนิดต่างๆ มาใช้เพื่อทำให้ที่ให้รากพืชยึดเกาะพยุงลำต้นไว้ได้ โดยวัสดุปลูกที่เราจะนำมาใช้ทดแทนดินที่ดีนั้น ต้องคำนึงถึงปัจจัยหลายอย่างประกอบกัน เช่น

1. มีอัตราส่วนพื้นที่ของอากาศและน้ำเหมาะสม อัตราส่วนประมาณ 50 : 50 หมายถึง วัสดุที่มีการระบายอากาศและน้ำได้ดี หรือมีความพรุนสูง ไม่เป็นวัสดุที่มีการสะสมความร้อน

2. โครงสร้างของวัสดุปลูกไม่อัดตัวกันแน่น หรือยุบตัวง่ายเมื่อถูกน้ำและใช้ไประยะหนึ่ง

3. วัสดุปลูกต้องไม่ทำปฎิกิริยทางเคมีเมื่อสัมผัสกับธาตุอาหารพืชจนเกิดอันตรายกับรากพืช

4. เป็นวัสดุที่สะอาด คือไม่มีการสะสมของเชื้อโรค หรือแมลง

5. เป็นวัสดุที่หาได้ง่าย และราคาไม่แพงจนเกินไป


              ในการปลูกพืชโดยใช้วัสดุปลูกให้ประสบความสำเร็จนั้น ผู้ปลูกต้องทราบถึงคุณสมบัติของวัสดุที่เรานำมาใช้ปลูกนั้นเป็นอย่างดีเพื่อที่เราจะได้สามารถควบคุมปริมาณการให้น้ำและสารละลายธาตุอาหารพืชได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม วัสดุปลูกทดแทนการใช้ดินที่นิยมนำมาใช้ได้แก่


1. หินภูเขาไฟ 

- แหล่งกำเนิด   : หินภูเขาไฟ
- ค่า pH             : 6.5
- คุณสมบัติการอุ้มน้ำ  19%
- คุณสมบัติการแลกเปลี่ยนประจุ ไม่มี
- ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางที่นิยมนำมาใช้ 3 - 15 มม.
- ความพรุน  73%
- ความคงทนของโครงสร้าง  ดีมาก
- ลักษณะการนำมาใช้ วัสดุเพาะชำ, วัสดุผสมปลูก
- อายุการใช้งาน หลายปี
- ราคา ถูก
- ข้อดี มีการระบายน้ำดีมาก, ไม่ทำปฎิกิริยาทางเคมีกับธาตุอาหารพืช, อายุการใช้งานนาน
- ข้อเสีย อุ้มน้ำได้น้อย, มีน้ำหนักมาก



2. ทรายหยาบ

- แหล่งกำเนิด  แม่น้ำ
- คุณสมบัติการอุ้มน้ำ  ค่อนข้างดี
- คุณสมบัติการแลกเปลี่ยนประจุ ไม่มี
- ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางที่นิยมนำมาใช้ 0.5 - 2 มม.
- ความพรุน ต่ำ
- ความคงทนของโครงสร้าง  ดีมาก
- ลักษณะการนำมาใช้ นิยมนำมาใช้วัสดุกรอง หรือผสมเป็นวัสดุปลูก
- อายุการใช้งาน หลายปี
- ราคา ปานกลาง
- ข้อดี อุ้มน้ำได้ดีกว่ากรวด, ไม่ทำปฎิกิริยาทางเคมีกับธาตุอาหารพืช, อายุการใช้งานนาน, ราคาถูก
- ข้อเสีย มีปัญหาการอัดตัวแน่นเมื่อใช้เป็นเวลานาน, มีน้ำหนักมาก, ความพรุนต่ำ



3. เม็ดดินเผา (Hydro Clay)

- แหล่งกำเนิด  การเผาดินเหนียวที่อุณหภูมิ 1,100 องศาเซลเซียส
- ค่า pH             : 5 - 7
- คุณสมบัติการอุ้มน้ำ  14 - 16 %
- คุณสมบัติการแลกเปลี่ยนประจุ ไม่มี
- ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางที่นิยมนำมาใช้ 8 - 16 มม.
- ความพรุน สูง
- ความคงทนของโครงสร้าง  ดีมาก
- ลักษณะการนำมาใช้ นิยมนำมาใช้วัสดุกรอง, เป็นวัสดุปลูก
- อายุการใช้งาน หลายปี
- ราคา สูง
- ข้อดี การระบายอากาศดีมาก, ไม่ทำปฎิกิริยาทางเคมีกับธาตุอาหารพืช, อายุการใช้งานนาน
- ข้อเสีย อุ้มน้ำได้น้อย, มีน้ำหนักมาก, ราคาค่อนข้างแพง 



4. ใยหิน (Rockwool)

- แหล่งกำเนิด  หลอมหินภูเขาไฟและปั่นให้เป็นเส้นใยผสมสารเรซิน 4 - 5%
- ค่า pH             : 7 - 9.5
- คุณสมบัติการอุ้มน้ำ  70 - 80 %
- คุณสมบัติการแลกเปลี่ยนประจุ ไม่มี
- ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางที่นิยมนำมาใช้ 8 - 16 มม.
- ความพรุน 98%
- ความคงทนของโครงสร้าง  ไม่ดี
- ลักษณะการนำมาใช้ นิยมนำมาใช้วัสดุเพาะเกล้า, เป็นวัสดุปลูก , ฉนวนกันความร้อน
- อายุการใช้งาน  1 ครั้ง
- ราคา สูง
- ข้อดี การระบายน้ำและอากาศดีมาก, ไม่ทำปฎิกิริยาทางเคมีกับธาตุอาหารพืช, ความพรุนสูง
- ข้อเสีย ราคาค่อนข้างแพง



5. เพอร์ไลท์ (Perlite)


- แหล่งกำเนิด  เผาหินภูเขาไฟด้วยความร้อน 1,200 องศาเซลเซียส
- ค่า pH             : 7 - 7.2
- คุณสมบัติการอุ้มน้ำ  250 - 300 ลิตร ต่อเพอร์ไลท์ 1 ลูกบาศก์เมตร
- คุณสมบัติการแลกเปลี่ยนประจุ ไม่มี
- ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางที่นิยมนำมาใช้ 1.5 - 6 มม.
- ความพรุน 97%
- ความคงทนของโครงสร้าง  ดี
- ลักษณะการนำมาใช้ นิยมนำมาใช้วัสดุเพาะเกล้า, เป็นวัสดุปลูก
- อายุการใช้งาน  1 ครั้ง
- ราคา สูง
- ข้อดี การระบายน้ำและอากาศดี, ไม่ทำปฎิกิริยาทางเคมีกับธาตุอาหารพืช, น้ำหนักเบา
- ข้อเสีย ราคาค่อนข้างแพง



6. เวอร์มิคูไลท์ (Vermiculite)

- แหล่งกำเนิด  เผาแร่ไมก้าด้วยความร้อน 850 องศาเซลเซียส
- ค่า pH             : 7 - 7.2
- คุณสมบัติการอุ้มน้ำ  350 - 375 ลิตร ต่อเวอร์มิคูไลท์ 1 ลูกบาศก์เมตร
- คุณสมบัติการแลกเปลี่ยนประจุ 65 - 140 me/100 gm
- ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางที่นิยมนำมาใช้ 1 - 6 มม.
- ความพรุน 96%
- ความคงทนของโครงสร้าง ไม่ดี
- ลักษณะการนำมาใช้ นิยมนำมาใช้วัสดุผสมเพาะเกล้า
- อายุการใช้งาน  1 ครั้ง
- ราคา สูง
- ข้อดี การระบายน้ำและอากาศดี, อุ้มน้ำได้ดี, น้ำหนักเบา
- ข้อเสีย ราคาค่อนข้างแพง, มีการแลกเปลี่ยนประจุเคมี, โครงสร้างย่อยสลายตัวง่าย



7. แกลบดิบ

- แหล่งกำเนิด  เปลือกหุ้มเมล็ดข้าว
- ค่า pH             : 6 - 7
- คุณสมบัติการอุ้มน้ำ  น้อย
- คุณสมบัติการแลกเปลี่ยนประจุ ต่ำ
- ความพรุน สูง
- ความคงทนของโครงสร้าง ย่อยสลายง่ายเมื่อถูกน้ำ
- ลักษณะการนำมาใช้ นิยมนำมาใช้วัสดุผสมเพาะเกล้า, วัสดุผสมปลูก
- อายุการใช้งาน  1 - 3 ครั้ง
- ราคา ถูก
- ข้อดี น้ำหนักเบา, ราคาถูก
- ข้อเสีย อุ้มน้ำได้ไม่ดี, โครงสร้างย่อยสลายตัวง่าย, อัดตัวแน่นเมื่อถูกน้ำ



8. ขุยมะพร้าว

- แหล่งกำเนิด  ปั่นใยออกจากเปลือกมะพร้าวจะได้เป็นเศษขุยเปลือกด้านในลูกมะพร้าว
- ค่า pH             : 6 - 7
- คุณสมบัติการอุ้มน้ำ  ได้ดีมาก
- คุณสมบัติการแลกเปลี่ยนประจุ สูงเมื่อขุยมะพร้าวผ่านขบวนการย่อยสลายตัว
- ความพรุน สูง
- ความคงทนของโครงสร้าง ปานกลาง มีการย่อยสลาย
- ลักษณะการนำมาใช้ นิยมนำมาใช้วัสดุผสมเพาะเกล้า, นำมาใช้เป็นวัสดุปลูก
- อายุการใช้งาน  2 - 3 ครั้ง
- ราคา ถูก
- ข้อดี น้ำหนักเบา, อุ้มน้ำได้ดีมาก, ราคาถูก
- ข้อเสีย เมื่อย่อยสลายจะอัดตัวกันแน่นทำให้เกิดปัญหาเรื่องการระบายอากาศ